Soy Peptide (ละลายน้ำใส, Oligopeptide, 500 Daltons)
- Product Code: 8686
จากการวิจัย พบว่า สามารถช่วยบำรุงสมองได้ สามารถถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อร่างกายมี ความจำเป็นต้องใช้โปรตีนทดแทน เนื่องจากผ่านการย่อยมาแล้ว
สามารถละลายน้ำใส
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
- -
Test Name | Specification |
---|---|
Appearance | Soft non-caking powder |
Color | White to light yellow |
Taste and smell | Unique taste and smell |
Impurity | No visible impurity |
Protein (on dry basis, conversion factor 6.25, g/100g) | 85% Min |
Peptide (%) | 80% Min |
Moisture (%) | 7 Max |
Ash (%) | 6.5 Max |
pH (6.67% aqueous solution) | 5.5-7.5 |
Crude fat (%) | 1 Max |
Urease | Negative |
Pb | 0.5ppm Max |
As | 0.5ppm Max |
Hg | 0.5ppm Max |
Cr | 2ppm Max |
Cd | 0.1ppm Max |
Total bacteria (CFU/g) | 1000 Max |
Coliforms | 3 MPN/g Max |
Mold & Yeast (CFU/g) | 50 Max |
Pathogens | Negative |
เปปไทด์ คือ โปรตีนที่ผ่านการย่อยด้วยเอนไซม์จนมีโมเลกุลขนาดเล็กนั่นเอง โปรตีนนั้นเป็นสารอาหาร
แหล่งเดียวที่ให้ธาตุไนโตรเจนซึ่งร่างกายจะนำมาสร้าง เป็นสาร Bioactive ที่ใช้ควบคุมการทำงานต่างๆ
ของร่างกาย นับตั้งแต่ระบบภูมิคุ้มกัน ฮีโมโกลบิน (ส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง) ฮอร์โมนบางชนิด
และสารสื่อนำประสาท(Neurotransmitter)
soy peptide ชนิดที่บริษัทจำหน่ายนี้ สามารถละลายน้ำใส ถือเป็นโปรตีนถั่วเหลือง ที่ละลายน้ำใส
ทั้งนี้สารอาหารประเภทโปรตีนนั้นประกอบขึ้นจากหน่วยที่เล็กที่สุดคือ กรดอะมิโนต่อกันเป็นสายยาวๆเรียกว่า
พอลิเปปไทด์ (Polypeptide) ซึ่งเมื่อร่างกายได้รับสารอาหารโปรตีนเข้าไปแล้วก็จะเข้าสู่กระบวนการย่อย
ด้วยเอนไซม์หรือน้ำย่อย จนโปรตีนมีขนาดโมเลกุลที่เล็กลงขนาดที่ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้งานได้ผ่าน
ทางลำไส้เล็ก
แต่ขบวนการดูดซึมที่ลำไส้เล็กนั้นไม่ได้มีแต่เพียงโปรตีนโมเลกุลที่เล็กที่ สุดอย่างกรดอะมิโนเท่านั้นแต่ยังมี
กรดอะมิโนที่เกาะตัวกันเป็นกลุ่มนั่นก็ คือ เปปไทด์ที่ได้รับการดูดซึมด้วย
จากผลการวิจัยหลายฉบับ ชี้ให้เห็นว่าที่บริเวณลำไส้เล็กนั้น มีช่องทางพิเศษสำหรับให้ร่างกายสามารถดูด
ซึมเปปไทด์ได้โดยตรง เรียกว่า Peptide Transporter ซึ่งเป็นช่องทางที่แยกจากช่องทางสำหรับกรดอะมิโน
และถ้าจำนวนของกรดอะมิโนที่เกาะมีขนาดค่อนข้างเล็ก เปปไทด์จะถูกดูดซึมเพียงครั้งละ 1 โมเลกุลต่อหนึ่ง
ช่องทางเท่านั้น ขณะที่เปปไทด์จำนวนมากสามารถดูดซึมได้ในทันที
Soy Peptide จึงสามารถถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อร่างกายมี
ความจำเป็นต้องใช้โปรตีนทดแทน เนื่องจากผ่านการย่อยมาแล้ว
เปปไทด์จากถั่วเหลืองเป็นผลพลอยได้จากการไฮโดรไลซ์โปรตีนถั่วเหลือง และพบว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ นี่คือตัวอย่างบางส่วน:
ผลต้านการอักเสบ: การศึกษาบางชิ้นพบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองสามารถลดการอักเสบในร่างกายได้ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Nutritional Science and Vitaminology พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองมีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูที่มีอาการลำไส้ใหญ่อักเสบ ซึ่งเป็นโรคลำไส้อักเสบ (https://www.jstage.jst.go.jp/article/jnsv/58/ 2/58_58.2.221/_article/-char/th)
ผลการลดคอเลสเตอรอล: พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Medicinal Food พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองสามารถลดระดับคอเลสเตอรอลรวมและปรับปรุงระดับไขมันในหนูที่มีไขมันในเลือดสูง (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3905294/)
ผลลดความดันโลหิต: พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองมีคุณสมบัติลดความดันโลหิตซึ่งสามารถช่วยลดความดันโลหิตสูงได้ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Nutritional Biochemistry พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองช่วยลดความดันโลหิตในหนูที่มีความดันโลหิตสูงได้เอง
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ: เปปไทด์จากถั่วเหลืองยังพบว่ามีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระซึ่งสามารถช่วยปกป้องร่างกายจากความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Agricultural and Food Chemistry พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่แข็งแกร่งและอาจใช้เป็นสารต้านอนุมูลอิสระตามธรรมชาติในผลิตภัณฑ์อาหาร (https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17058805/)
ปัจจุบัน อย.ยังไม่อนุญาติให้ใช้ในอาหารเสริม สินค้ารายการนี้ สามารถใช้ได้เฉพาะในงานวิจัยเท่านั้น
Be the first to review this product :-)
บริการวิเคราะห์
บริการแลป | ราคา |
---|
จากการวิจัย พบว่า สามารถช่วยบำรุงสมองได้ สามารถถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อร่างกายมี ความจำเป็นต้องใช้โปรตีนทดแทน เนื่องจากผ่านการย่อยมาแล้ว
สามารถละลายน้ำใส
เปปไทด์ คือ โปรตีนที่ผ่านการย่อยด้วยเอนไซม์จนมีโมเลกุลขนาดเล็กนั่นเอง โปรตีนนั้นเป็นสารอาหาร
แหล่งเดียวที่ให้ธาตุไนโตรเจนซึ่งร่างกายจะนำมาสร้าง เป็นสาร Bioactive ที่ใช้ควบคุมการทำงานต่างๆ
ของร่างกาย นับตั้งแต่ระบบภูมิคุ้มกัน ฮีโมโกลบิน (ส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง) ฮอร์โมนบางชนิด
และสารสื่อนำประสาท(Neurotransmitter)
soy peptide ชนิดที่บริษัทจำหน่ายนี้ สามารถละลายน้ำใส ถือเป็นโปรตีนถั่วเหลือง ที่ละลายน้ำใส
ทั้งนี้สารอาหารประเภทโปรตีนนั้นประกอบขึ้นจากหน่วยที่เล็กที่สุดคือ กรดอะมิโนต่อกันเป็นสายยาวๆเรียกว่า
พอลิเปปไทด์ (Polypeptide) ซึ่งเมื่อร่างกายได้รับสารอาหารโปรตีนเข้าไปแล้วก็จะเข้าสู่กระบวนการย่อย
ด้วยเอนไซม์หรือน้ำย่อย จนโปรตีนมีขนาดโมเลกุลที่เล็กลงขนาดที่ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้งานได้ผ่าน
ทางลำไส้เล็ก
แต่ขบวนการดูดซึมที่ลำไส้เล็กนั้นไม่ได้มีแต่เพียงโปรตีนโมเลกุลที่เล็กที่ สุดอย่างกรดอะมิโนเท่านั้นแต่ยังมี
กรดอะมิโนที่เกาะตัวกันเป็นกลุ่มนั่นก็ คือ เปปไทด์ที่ได้รับการดูดซึมด้วย
จากผลการวิจัยหลายฉบับ ชี้ให้เห็นว่าที่บริเวณลำไส้เล็กนั้น มีช่องทางพิเศษสำหรับให้ร่างกายสามารถดูด
ซึมเปปไทด์ได้โดยตรง เรียกว่า Peptide Transporter ซึ่งเป็นช่องทางที่แยกจากช่องทางสำหรับกรดอะมิโน
และถ้าจำนวนของกรดอะมิโนที่เกาะมีขนาดค่อนข้างเล็ก เปปไทด์จะถูกดูดซึมเพียงครั้งละ 1 โมเลกุลต่อหนึ่ง
ช่องทางเท่านั้น ขณะที่เปปไทด์จำนวนมากสามารถดูดซึมได้ในทันที
Soy Peptide จึงสามารถถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อร่างกายมี
ความจำเป็นต้องใช้โปรตีนทดแทน เนื่องจากผ่านการย่อยมาแล้ว
เปปไทด์จากถั่วเหลืองเป็นผลพลอยได้จากการไฮโดรไลซ์โปรตีนถั่วเหลือง และพบว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ นี่คือตัวอย่างบางส่วน:
ผลต้านการอักเสบ: การศึกษาบางชิ้นพบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองสามารถลดการอักเสบในร่างกายได้ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Nutritional Science and Vitaminology พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองมีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูที่มีอาการลำไส้ใหญ่อักเสบ ซึ่งเป็นโรคลำไส้อักเสบ (https://www.jstage.jst.go.jp/article/jnsv/58/ 2/58_58.2.221/_article/-char/th)
ผลการลดคอเลสเตอรอล: พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Medicinal Food พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองสามารถลดระดับคอเลสเตอรอลรวมและปรับปรุงระดับไขมันในหนูที่มีไขมันในเลือดสูง (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3905294/)
ผลลดความดันโลหิต: พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองมีคุณสมบัติลดความดันโลหิตซึ่งสามารถช่วยลดความดันโลหิตสูงได้ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Nutritional Biochemistry พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองช่วยลดความดันโลหิตในหนูที่มีความดันโลหิตสูงได้เอง
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ: เปปไทด์จากถั่วเหลืองยังพบว่ามีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระซึ่งสามารถช่วยปกป้องร่างกายจากความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระ การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน Journal of Agricultural and Food Chemistry พบว่าเปปไทด์จากถั่วเหลืองมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่แข็งแกร่งและอาจใช้เป็นสารต้านอนุมูลอิสระตามธรรมชาติในผลิตภัณฑ์อาหาร (https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17058805/)
ปัจจุบัน อย.ยังไม่อนุญาติให้ใช้ในอาหารเสริม สินค้ารายการนี้ สามารถใช้ได้เฉพาะในงานวิจัยเท่านั้น
Mechanism | - |
Appearance | - |
Longevity | - |
Strength | - |
Storage | - |
Shelf Life | - |
Allergen(s) | - |
Dosage (Range) | - |
Recommended Dosage | - |
Dosage (Per Day) | - |
Recommended Dosage (Per Day) | - |
Mix Method | - |
Heat Resistance | - |
Stable in pH range | - |
Solubility | - |
Product Types | - |
INCI | - |
ตะกร้า
ไม่มีสินค้า